วันเสาร์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2557

3. การวิเคราะห์ข้อมูล

สร้างโฟลเดอร์ชื่อว่า Projact ใน RTArcGis

Copy ชั้นข้อมูล Chaopaya ใน Lab 11 มาไว้ในโฟลเดอร์ Progact

ทำการเปิดชั้นข้อมูล Chaopaya

คลิกที่ View เลือก Data Frame Properties
จะปรากฏหน้าต่าง Data Frame Properties และคลิกที่ General ตั้งค่า Map และ Display เป็น Meters และคลิก OK

สามารถเพิ่ม-ลดสัดส่วนได้ และค่าพิกัดที่ปรากฏทางด้านล่างขวามีหน่อยเป็น Meters

กำหนดมาตราส่วน คลิกที่ (Customize This List..)

จะปรากฏหน้าต่าง Scale Settings เลือก Standard Scales ถ้าต้องการเพิ่มมาตราส่วนให้พิมพ์มาตราส่วนที่ต้องการเข้าไปดังภาพ และคลิก Add

มาตรตราส่วนที่ทำการเพิ่มเข้าไปจะปรากฏ

ถ้าไม่ต้องการให้คลิกที่มาตราส่วนที่ไม่ต้องการ คลิกที่ Delete และคลิก OK

ถ้าต้องการเช็คค่าพิกัดข้อมูลว่าใช้พิกัดอะไร ให้คลิกขวาที่ชั้นข้อมูล >>> เลือก Properties จะปรากฏหน้าต่าง Layer Properties คลิกที่ Source ซึ่งข้อมูลที่ใช้นี้จะขึ้นเป็น Undefined ซึ่งเป็นข้อมูลที่ยังไม่ได้ตั้งพิกัด

ใช้ Arc Toolbox เลือก Toolbox ที่ชื่อว่า Data Management tool เลือก Toolset ที่ชื่อว่า Projection and Transformations เลือกคำสั่ง Define Projection

จะปรากฏหน้าต่าง Define Projection

ช่อง Input Dataset or Feature Class เลือก Chaopaya ช่อง Coordinate System ให้คลิกที่รูปมือถือเอกสาร จะปรากฏหน้าต่าง Spatial Reference Properties คลิก Select

เลือก Projected Coordinate System

เลือก UTM

เลือก WGS 1984

เลือก Northern Hemisphere

เลือก WGS 1984 UTM Zone 47N.prj

คลิก OK

คลิก OK

การแปลงระบบพิกัดภูมิศาสตร์ หรือโซน (Projection)

เปิดขั้นข้อมูล Country ขึ้นมา

คลิกขวาที่ชั้นข้อมูล ฉนีืะพั ที่ TOC เลือก Properties จะปรากฏหน้าต่าง Layer Properties คลิกที่ Source เพื่อเช็คดูค่าพิกัด และคลิก OK

เลือก Toolbox ที่ชื่อว่า Data Management Tools >> เลือก Toolset ที่ชื่อว่า Projection and Transformations >> เลือก Feature >> เลือกคำสั่ง Project จะปรากฏหน้าต่าง Project

ช่อง Input Dataset of Feature Class เลือก country ช่อง Output Dataset or Feature Class ให้คลิกที่รูปแฟ้มแล้วทำการบันทึกในโฟลเดอร์ที่ชื่อ Projact 

ช่อง Output Coordinate System คลิกที่รูปมือ จะปรากฏหน้าต่าง Spatial Reference Properties ให้คลิกที่ Select 

เลือก Projected Coordinate Systems

เลือก UTM

เลือก WGS 1984

เลือก Northern Hemishere

เลือก WGS 1984 Zone 47N. prj

คลิก OK

คลิก OK

จะแสดงโซนที่ทำการเลือก

การแปลงพื้นหลักฐาน (Datum Transformation)

เปิดชั้นข้อมูล Province_WGS84UTM47N

เปิดชั้นข้อมูล Bangkok_Indian1975UTM47N

การแปลงพื้นหลักฐาน คลิกที่ View >>> เลือก Data Frame Properies

จะปรากฏหน้าต่าง Data Frame Properties คลิกที่ Coordinate system ช่อง Select a coordinate system คลิกที่ Layers เลือกที่ Province_WGS84UTM47N >>เลือก WGS_1984_UTM_Zone47N. >>> คลิก Transformations

จะปรากฏหน้าต่าง Geographic Coordinate System Transformations ที่ Convert from เลือก GCS_Indian_1975 ในช่อง Into เลือก GCS_WES_1984 และคลิก New

จะปรากฏหน้าต่าง New Geographic Transformation? ในส่วนของ Parameters ช่อง Name x ช่อง Value ใส่เลข 206 , Y ใส่เลข 837 , Z ใส่เลข 295 คลิก OK ทุกหน้าต่าง

พื้นที่จะซ้อนทับกันสนิทกันพอดี

การทำ Append

Copy ข้อมูล Lu5038I และ LU5138IV ไว้ในโฟลเดอร์ Projact

เปิดชั้นข้อมูล LU5038I และ LU51381IV

เปิด Arc Toolboox >> เลือก Data Management Tool >> เลือก General >>> เลือก Append จะปรากฏหน้าต่าง Append
Input Datasets เลือก LU5138IV
Target Datasets เลือก LU5038I
Schema Type เลือก No-Test และคลิก OK

จะปรากฏภาพดังนี้

การทำ Erase 

เป็นการสร้างขึ้นข้อมูลใหม่โดยการซ้อนทับกันของ 2 ชั้นข้อมูล ได้แก่ Erase coverage กับ Input coverage

ทำการเปิดข้อมูล Lab 12 >> เลือก PathumThani >> เปิดชั้นข้อมูล SOILS และ WATER
เปิด Arc Toolbox >> เลือก Analysis Tool >> เลือก Overlay >> เลือกคำสั่ง Erase จะปรากฏหน้าต่าง Erase
Input Features เลือก SOILS
Erase Features เลือก WATER
Output Features Class ทำการตั้งชื่อ และบันทึกไว้ในโฟลเดอร์ project และคลิก OK

ข้อมูลที่ได้จะปรากฏดังภาพ

การจัดกลุ่มข้อมูลใหม่ (Reclassify)

เป็นการจัดกลุ่มข้อมูลใหม่ โดยใช้ข้อมูลคุณลักษณะอันใดอันหนึ่งหรือหลายอันรวมกัน

เปิดข้อมูลที่ Prachinburi ทำการเปิดชั้นข้อมูล Prachindem 30 m.tim

การใช้เครื่องมือ Reclassify
วิธีที่ 1 เปิด Arc Toolbox >> เลือก 3D Analyst Tools >> เลือก Raster Reclass >> เลือก Reclassify

วิธีที่ 2 เปิด Arc Toolbox >> เลือก Spatial Analyst Tools >> เลือก Reclass >> เลือก Reclassily

จะปรากฏหน้าต่าง Reclassify
Input rester  เลือก Rrachindem30m.tif คลิก Classify

จะปรากฏหน้าต่าง Classification
ช่อง Method เลือกวิธีการแบ่งแบบ Manual 
ช่อง Classes เลือก 3
ส่วน Breack Values สามารถใส่ค่าความสูงได้ได้

การเลือกแบบ Equal Intraval เป็นการแบ่งแบบมีค่าเท่า ๆ กัน

การเลือกแบบ Defined Interval สามารถเปลี่ยนค่า Interval Size ได้

การเลือกแบบ Quantile เป็นการแบ่งตามค่าสถิติ

การเลือกแบบ Natural Breaks (Jenks) เป็นการเลือกแบบคำนึงถึงข้อมูล

การเลือกแบบ Geometrical Interval ตัวโปรแกรมจะแบ่งให้

การเลือกแบบ Standard Deviation แบ่งตามค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

เลือกแบ่งแบบ Equal In terval >> เลือก Class 8 >> คลิก ok

ช่อง Output raster เลือกที่เก็บช้อมูล และทำการตั้งชื่อ คลิก OK

จะปรากฏภาพข้อมูลดังนี้


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น