การประมวลช่วงค่าด้วยวิธี IDW
สร้างโฟลเดอร์ชื่อ Interpotation ไว้ที่ RTArcGIS
เปิดชั้นข้อมูล SPOT ของจังหวัด KANCHANABURI
และเปิดตารางข้อมูลออกมา
เปิด Arc Tool box>>> เลือก Spatial Analyst tools >>> Interpolution >>>เลือก IDW จะปรากฏหน้าต่าง IDW
Input point featres เลือกข้อมูลที่ต้องการวิเคราห์ คือ SPOT
Z Value field เลือกฟิลล์ที่ต้องการนำมาคำนวณ คือ ELEVATION
Output rester บันทึกชื่อ IDW ในโฟลเดอร์ Interpotation
Output cell size (optional) ใส่เลข 40
คลิกิ ok
จะปรากฏภาพดังนี้
เปิดชั้นข้อมูล Province เพื่อแสดงขอบเขตให้กับข้อมูล
การเปลี่ยนสีข้อมูล คลิกขวาที่ขั้นข้อมูล IDW เลือก Properties จะปรากฏหน้าต่าง Layer Properties
คลิกที่ Symbololge เลือก Stretched และทำการเลือกสี คลิก OK
เลือกคำสั่ง IDW
Input point features เลือก SPOT
Z Value field เลือก ELEVATION
Output raster บันทึกชื่อ IDW2 ไว้ที่แฟ้ม Interpotation
Output cellsize (optional) ใส่ค่า 40
คลิก Environments
จะปรากฏหน้าต่าง Environment Settings
ทำการเปลี่ยนข้อมูลที่ Processing Extent เลือก Same as layer PROVINCE
Raster Analysis ช่อง Mask เลือก PROVINCE คลิก OK
คลิก OK
จะปรากฏขอบเขตที่เราต้องการ
การเปลี่ยนสีข้อมูล คลิกขวาที่ขั้นข้อมูล IDW เลือก Properties จะปรากฏหน้าต่าง Layer Properties
คลิกที่ Symbololge เลือก Stretched และทำการเลือกสี คลิก OK
เลือกคำสั่ง IDW
Input point features เลือก SPOT
Z Value field เลือก ELEVATION
Output raster บันทึกชื่อ IDW2 ไว้ที่แฟ้ม Interpotation
Output cellsize (optional) ใส่ค่า 40
คลิก Environments
จะปรากฏหน้าต่าง Environment Settings
ทำการเปลี่ยนข้อมูลที่ Processing Extent เลือก Same as layer PROVINCE
Raster Analysis ช่อง Mask เลือก PROVINCE คลิก OK
คลิก OK
จะปรากฏขอบเขตที่เราต้องการ
Natural Neighbors
Natural Neighbors คือ การสร้าง subset ที่อยู่ใกล้จุดตัวอย่างมากที่สุด จากนั้นจะทำการแทรกค่าโดยใช้ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามขนาดของพื้นที่ของข้อมูลจุดตัวอย่าง
เลือกเครื่องมือ Tools Box >>> เลือก Spatial Analyst Tools >>> เลือก Intrpolation >>> เลือกคำสั่ง Natural Neighbors
จะปรากฏหน้าต่างคำสั่ง Natural Neighbors
Input point features เลือก Spot
Z value field เลือก ELEVATION
Output raster ให้ทำการตั้งชื่อ Natural_1บันทึกในโฟลเดอร์ Interpotation
Output cell size (optional) ใส่ค่า 40
คลิกที่ Environment
เปลี่ยนข้อมูลที่ Processing Extent >>> Same as layer PROVINCE
Paster Analysis ช่อง Mask เลือก PROVINCE คลิก ok
คลิก OK
จะปรากฏภาพดังนี้ จะเห็นได้ว่าความระเอียดในการตัดของ Province จะหยาบ
Spline
Spline เป็นวิธีการแทรกค่าให้พอดีกับพื้นผิวที่มีความโค้งเว้าอย่างน้อยตามจุดข้อมูลตัวอย่างที่นำเข้ามา เหมือนการบิดงอของแผ่นยางผ่านจุดตัวอย่าง โดยพยายามให้อย่างน้อยความโค้งทั้งหมดเข้าหาจุดตัวอย่างเหล่านั้นมาเป็นพื้นผิว
วิธี Spline เป็นการนำสมการทางคณิตศาสตร์มาใช้ในการคำนวณเหมาะกับพื้นผิวที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป เช่น ความสูง และความลึกของพื้นน้ำ เป็นต้น
วิธี Spline แบ่งเป็น 2 แบบ ได้แก่
วิธีที่ 1 Regularized spline เป็นเทคนิคที่ทำให้ผลลัพธ์ที่ได้มีความเรียบ และค่าของข้อมูลมีการเพิ่มขึ้นหรือลดลงแบบค่อยเป็นค่อยไปมากขึ้น โดยการก้าหนดค่าน้ำหนักที่เหมาะสมควรอยู่ระหว่าง 0-0.5
ไปที่ Arc Tool box >>> เลือก Spatial Analyst Tools >>> เลือก Interpotation >>> เลือกคำสั่ง Spline จะปรากฏหน้าต่าง Spline
Input point Features เลือก SPOT
Z value field เลือก ELEVATION
Output raster ตั้งชื่อและเลือกโฟล์เดอร์ที่จัดเก็บ
Output cell size (optional) ใส่ค่า 40
Spline type (optional) เลือก REGULARIZED
คลิก Environment
Processing Extent เลือก Sane as layer PROVINCE
Paster Analysis ช่อง Mask เลือก PROVINCE คลิก OK
คลิก OK
จะปรากฏภาพดังนี้
วิธีที่ 2 Tension spline เป็นเทคนิคที่มีการควบคุมความแข็งกระด้างของพื้นผิว ให้เป็นไปตามลักษณะของปรากฏการณ์ โดยผลลัพธ์ที่ได้มีความเรียบน้อย กว่าแบบ Regularize
ใช้คำสั่ง Spline เหมือนเดิม
Input point Features เลือก SPOT
Z value field เลือก ELEVATION
Output raster ตั้งชื่อและเลือกที่จัดเก็บ
Output cell size (optional) ใส่ค่า 40
Spline type (optional) เลือก TENSION
คลิก Environment
Processing Extent เลือก Same as layer PROVINCE
Raster Analysis ช่อง Mask เลือก PROVIONCE คลิก OK
คลิก OK
ภาพที่ได้ออกมาจะมีความหยาบกว่าแบบ Regularized
Kriging
เปิด Arc Tool box >>> Spatial Analyst Tools >>> Interpotation >>> Kriging จะปรากฏหน้าต่าง Kriging
Input point features เลือก SPOT
Z value field เลือก ELEVATION
Output surface raster ตั้งชื่อและบันทึก
Output cell size (optional) ใส่ค่า 40
คลิก Environments
Proessing Extent เลือก Same as layer PROVINCE
Raster Analysis ช่อง Mask เลือก PROVINCE คลิก OK
คลิก OK
จะปรากฏภาพพื้นที่ความสูงดังนี้ เมื่อใช้ Kriging จะได้ผลลัพธ์ที่มาจากการวิเคราะห์ที่แน่นอนและมีความถูกต้องสูง
Input point features เลือก SPOT
Z value field เลือก ELEVATION
Output surface raster ตั้งชื่อและบันทึก
Output cell size (optional) ใส่ค่า 40
คลิก Environments
Proessing Extent เลือก Same as layer PROVINCE
Raster Analysis ช่อง Mask เลือก PROVINCE คลิก OK
คลิก OK
จะปรากฏภาพพื้นที่ความสูงดังนี้ เมื่อใช้ Kriging จะได้ผลลัพธ์ที่มาจากการวิเคราะห์ที่แน่นอนและมีความถูกต้องสูง
Trend
เปิดเครื่องมือ Trend ขึ้นมา
Input point features เลือก SPOT
Z value field เลือก ELEVATION
Output surface raster เลือกที่เก็บ ตั้งชื่อ
Output cell size ใส่ค่า 40
คลิกที่ Enviroments
Procesing Extent เลือก Same as layer Province
Paster Analysis ช่อง Mask เลือก PROVINCE คลิก OK
Polynomial order เป็นการกำหนดค่ายกกำลัง เช่น มีข้อมูล 1 ที่ จะเป็นยกกำลัง 2 ถ้ามี 2 ที่ จะเป็นยกกำลัง 3 ใสมารถใส่ยกกำลังสุงสุดได้ถึง 12 เมื่อกำหนดได้แล้วคลิก ok
ตัวอย่าง Polynomial order = 1
ตัวอย่าง Polynomial = 2
ตัวอย่าง Polynomial order = 12
Topo to Raster
เป็นวิธีการที่ออกแบบมาเพื่อสร้างแบบจำลองความสูงเชิงเลขทางอุทกศาสตร์ (Hydrological correct digital elevation model: DEMs) โดยใช้ข้อมูลเส้น Contour
ผลลัพธ์ที่ได้ ได้แก่ โครงสร้างการระบายน้้า รวมทั้งการแสดงลักษณะของสันเขาและลำธารที่มีความถูกต้อง
ในการทำ Topo to Raster ใช้ตัวแปล 6 ตัวแปล ได้แก่ ข้อมูลจุดความสูง ,ข้อมูลเส้นชั้นความสูง (Contour) ,ข้อมูลเส้นทางน้ำ (Strem) ,ข้อมูลหลุมหรือบ่อน้ำ (Snik) ,ข้อมูลสระน้ำหรือทะเลสาบ (Lake)
,ข้อมูลขอบเขต (Boundary)
*ไม่จำเป็นต้องมีครบทุกตัวแปลก็สามารถทำ Topo to Raster ได้ แต่ขาดข้อมูลเส้นชั้นความสูง (Contour) ไม่ได้
เปิดชั้นข้อมูล Trans ,Contour ,stream
เปิด Arc Tool box >>> Spatial Analyst Tool >>> Interpolation >>> Topo to Raste
Input feature data เลือกข้อมูล คือ SPOT ,CONTOUR ,STREM ,PROVINCE
SPOT ช่อง Field เลือก ELEVATION ช่อง Type เลือก PointElavation
CONTOUR ช่อง Field เลือก ELEVATION ช่อง Type เลือก CONTOUR
STREAM ช่อง Type เลือก Stream
PROVINCE ช่อง Type เลือก Boundary
Processing Extent เลือก Same as layer PROVINCE
Raster Analysis ช่อง Mask เลือก PROVINCE
คลิก OK
คลิก OK
TIN สามารถสร้างได้จากข้อมูลจุด เส้น หรือโพลิกอน โดย TIN มีหน่วยเป็นฟุตหรือเมตร แต่ไม่ใช้หน่วยเป็นองศา
โดยทั่วไปแล้ว TIN น้ามาใช้ในการสร้างแบบจ้าลองที่ต้องการความถูกต้องสูงและพื้นที่ศึกษาที่มีขนาดไม่ใหญ่มากนัก เช่น งานทางวิศวกรรมศาสตร์
เปิด Arc Tool box >>> 3d Analyst Tools >>> Tin Management >>> Create TIN
Output TIN กำหนดที่อยู่ TIN
Input Feature Class การนำเข้าข้อมูลที่ต้องการวิเคราะห์ ทำการเลือกข้อมูลดังภาพ
คลิก OK
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น