วันอังคารที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2557

8. แบบจำลองเวกเตอร์

การหาพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากการสร้างเขื่อน
  กำหนดประเด็นปัญหา
  1. การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทใดบ้างที่ได้รับผลกระทบจากการสร้างเขื่อนในรัศมี 500 เมตร และมีพื้นที่เท่าใด

  2. การใช้ประโยชน์ที่ดินที่ได้รับผลกระทบจากการสร้างเขื่อนอยู่ในตำบล อำเภอ และจังหวัดใดบ้าง และมีพื้นที่เท่าใด

กำหนดปัจจัยหรือตัวแปรที่ใช้วิเคราะห์
  1. ขอบเขตน้ำท่วมถึงในพื้นที่ศึกษา
  2. แผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน
  3. ขอบเขตการปกครอง
  การเตรียมข้อมูล
  ได้แก่ การเชื่อมต่อข้อมูล การปรับแก้และตรวจสอบข้อมูล

สร้าง Folder ชื่อ Dem ไว้ใน RTArc GIS

เปิดชั้นข้อมูล a5139III ,a5238IV ,a5238III และ a2138I

ใช้คำสั่ง Merge 
ช่อง Input Datasets เลือก ข้อมูล a5239III ,a5238IV ,a5238III ,a5138I
ช่อง Output Dataset ทำการเลือกที่อยู่ และตั้งชื่อว่า Admin คลิก Save
คลิก ok

จะปรากฎภาพข้อมูลที่ทำการ Merge กัน

คลิกขวาที่ Admin >> Open Attribute Table จะปรากฏตารางข้อมูลของ Admin

ลากข้อมูล luprv ,lutam ,luamp ลงใน Display Area

คลิกขวาที่ตาราง luprv >> เลือก open

พิจารณาสองตาราง ระหว่าง Admin กับ luprv พบว่า ฟิลล์ PRV_Id มีความสัมพันธ์แบบ Mony -to-One = ใช้วิธีการ Join

คลิกที่ตาราง admin >> คลิก Table Options >>เลือก Joins and Relates >> เลือก Joins

จะปรากฏหน้าต่าง Join data 
ช่องที่ 1 เลือก PRV_ID
ช่องที่ 2 เลือก luprv
ช่องที่ 3 เลือก PRV_ID
คลิก  OK


จะปรากฏ ฟิลล์ PRV_NAME ชื่อจังหวัดในตาราง admin

คลิกขวาที่ luamp >> open จะปรากฏตารางข้อมูลอำเภอ

พิจารณาตาราง admin กับ luamp พบว่า ฟิลล์ AMP_ID มีความสัมพันธ์แบบ Mony-to-One ใช่วิธี Join 
คลิกที่ตาราง admin >> คลิกที่ Table Options >> เลือก Joins and Relates >> Join

ช่องที่ 1 เลือก AMP_ID
ช่องที่ 2 เลือก luamp
ช่องที่ 3 เลือก AMP_ID
คลิก OK

จะปรากฏข้อมูล AMP_NAME ขึ้นมาซึ่งเป็นชื่ออำเภอที่ตั้งอยู่ในเขตเขื่อนป่าสัก

คลิกขวาที่ lutam เลือก Open จะปรากฏตารางข้อมูลตำบล

พิจารณาตาราง admin กับ lutam พบว่าฟิลล์ ADM_ID มีความสัมพันธ์แบบ One-to-One ใช่วิธี Join 
คลิกที่ตาราง admin >> คลิก Table Options >> เลือก Joins and Relates >> เลือก Joins

ช่องที่ 1เลือก ADM_ID
ช่องที่ 2 เลือก lutam
ช่องที่ 3 เลือก ADM_ID
คลิก OK

จะปรากฏฟิลล์ TAM_NAME ในตาราง admin


เปิดชั้นข้อมูล dam ขึ้นมา

เปิดคำสั่ง Buffer ขึ้นมา
-Input features เลือก dem
-Output features ทำการ save ตั้งชื่อ dem_500 คลิก save
-Distance >> Liner unit >>> 500 >>> Meters
คลิก ok

จะปรากฏสักษณะเขื่อนขยายออกไป 500 เมตร

ทำการ clip

เปิดคำสั่ง clip ขึ้นมา
-Input Fetures เลือก Admin
-Clip Features เลือก dam_500
-Output Features ทำการตั้งชื่อและบันทึก ตั้งชื่อว่า admin _500
-คลิก ok

จะปรากฏภาพดังนี้

เปิดชั้นข้อมูล l5138i ,l5238iii ,l5238iv ,l5239iii

เปิดคำสั่ง Merge
-Input Datasets เลือก l5239iii ,l5238iv ,l5238iii ,l5138i
-Output Dataset ทำการ Save ตั้งชื่อ LU
คลิก ok

จะปรากฏภาพดังนี้

เปิดตารางข้อมูล lu ขึ้นมา

ลาก lucode ลงใน Display Area 

คลิกขวาที่ lucode >> open จะปรากฏข้อมูลตารางขึ้นมา 

เมื่อพิจารณาดูข้อมูลในตาราง lu และ lucode พบว่ามีความสัมพันธ์แบบ One -to -One ใช้วิธี join

ช่อง 1 เลือก LUCODE
ช่อง 2 เลือก lucode
ช่อง 3 เลือก LUCODE
คลิก OK

จะปรากฎข้อมูลเพื่มขึ้นมาคือ ASSOCLUT ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ถูกใช้ประโยชน์

เปิดคำสั่ง clip ขึ้นมา 
Input features เลือก lu
Clip features เลือก dem_5oo
Output features ทำการตั้งชื่อและบันทึก ตั้งชื่อ lu_500
คลิก ok

จะปรากฏภาพดังนี้

เปิดคำสั่ง Union
-Input Features เลือก lu_500 ,Admmin_500
-Output Features ทำการตั้งชื่อ final ทำการบันทึกฃ
คลิก ok

จะปรากฏภาพดังนี้

ทำการเปิดตารางข้อมูล Final

คลิกที่ Table Option เลือก Add Field 
-ช่อง Name ตั้งชื่อว่า Area
-Type เลือก Float
-Preeision ใส่ 20
-Scals ใส่ 2
คลิก ok

จะปรากฎฟิลล์ Area เพิ่มขึ้น ให้คลิกขวา เลือก Calculate Geomatry

คลิก yes

คลิก ok

จะปรากฏผลการคำนวณ

ทำการเปิด Microsoft Excel ขึ้นมา 

เลือก File >>> Open เลือก ไฟล์ที่ชื่อว่า Final.dbf

จะปรากกข้อมุลขึ้นมา

คลิกที่ แทรก เลือก Pivot Table >> เลือก Pivot Table 

คลิก ตกลง

จะปรากฏ รายการเขตข้อมูลของ Pivot Table

ติ๊กถูกที่ luprv_PRV1 เพื่อแสดงชื่อจังหวัดที่มีพื้นที่อยู่ในเขตเขื่อนป่าสัก

ถ้าต้องการแสดงอำเภอของแต่ละจังหวัดที่อยู่ในเขื่อนป่าสัก ติ๊กถูกที่ luamp_AMP1

ติ๊กถูกที่ lutam_TAM จะปรากฏชื่อตำบล

ติ๊กที่ lucodes_Ass จะแสดงพื้นที่ใช้ประโชยน์ที่อยู่ในเขตเขื่อนป่าสัก

ติ๊กที่ area เพื่อแสดงจำนวนพื้นที่ที่อยู่ในเขตเขื่อนป่าสัก


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น